สุพจน์ โคกมณี ปราชญ์ชาวบ้าน เดินตาม”เศรษฐกิจพอเพียง” : นาฉัน ข้าวไม่เคยพอขาย

ในการจัดการเกษตรตามแนว "ทฤษฎีใหม่" ให้เกิดประสิทธิภาพนั้น ประเด็นสำคัญ คือ การพึ่งตนเอง ประหยัด และมัธยัสถ์ ก่อให้เกิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยการจัดการแบ่งพื้นที่ให้สัมพันธ์ และเกื้อกูลกัน ซึ่งเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดิน น้ำ แรงงาน และรักษาสภาพแวดล้อมให้ดีขึ้น อันจะนำไปสู่การผลิตที่เกิดรายได้ และสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน. “...การจะเป็นเสือนั้นไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้น หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตนเอง ความพอเพียงนี้ไม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวเอง จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอำเภอ จะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไร…

Continue Readingสุพจน์ โคกมณี ปราชญ์ชาวบ้าน เดินตาม”เศรษฐกิจพอเพียง” : นาฉัน ข้าวไม่เคยพอขาย

ทส ขับเคลื่อนการทำงาน ‘สิ่งแวดล้อม’ สืบสาน ‘เศรษฐกิจพอเพียง’ สู่เป้าหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

“ในชุมชนสะพานสูงจะมีทั้งคนนับถือศาสนาพุทธและอิสลาม แต่ก็ได้ช่วยเหลือเกื้อกูลกันใช้ชีวิตอย่างมีความสุขเพราะทุกคนมีน้ำใจที่ดีต่อกันถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการประกอบอาชีพการเกษตรให้กับผู้ที่สนใจ ตลอดจนเด็ก ๆ นักเรียนที่เข้ามาศึกษาดูงานอยู่เป็นประจำ มีการรวมกลุ่มในการผลิต และระดมทุนเพื่อใช้เป็นทุนในการผลิต และให้สมาชิกในกลุ่มกู้ยืมไปใช้ในการประกอบอาชีพโดยไม่คิดดอกเบี้ย ซึ่งเป็นการเอื้อเฟื้อและดูแลซึ่งกันและกัน อันแสดงถึงความสามัคคีในชุมชนอย่างเห็นได้ชัดอีกด้วย” นายเฉลิมเกียรติ กล่าว. “...การจะเป็นเสือนั้นไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้น หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตนเอง ความพอเพียงนี้ไม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวเอง จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอำเภอ จะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไร ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก...” พระราชดำรัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย…

Continue Readingทส ขับเคลื่อนการทำงาน ‘สิ่งแวดล้อม’ สืบสาน ‘เศรษฐกิจพอเพียง’ สู่เป้าหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน